วันอาทิตย์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เตรียมประชุมเดือน ธันวาคม 2553

อัตรากำลัง

พ.ภัทรชนน ประชุม CPR 15 ธันวาคม 2553
พ.นันทภัทรประชุม thallasemia ธันวาคม 2553
พ.วุฒิชัย ประชุม การจัดระบบวิศกรรมเครื่องมือแพทย์ 11-13 มกราคม 2554 อุบล
พ.วุฒิชัย ประชุม TQA 24- 26 มกราคม 2554 กรุงเทพ
พ.สนองประชุม TQA กุมภาพันธ์ 2554


วันศุกร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2553

เตรียมประชุมองค์กรแพทย์ พ.ย 2553

1 เรื่องแจ้งให้ทราบ
 1.1 แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยสติคลินิกพิเศษ สูติ-นรเวช จาก รพ สุรินทร์
 1.2 
  PCT ขอความร่วมมือแพทย์ที่ round ทุกครึ่งเดือน ได้ทบทวน case ในแบบ  Grand round หรือ conference case ร่วมกับตึกผู้ป่วยในอย่างน้อย 1 case


2 รับรองการประชุมครั้งที่แล้ว
3 เรื่องเสนอจากที่ประชุม
 3.1 นำเสนออัตรากำลัง (เอกสารหมายเลข 1)
 3.2 minimal requirmentเนื่องจากองค์กรแพทย์ได้รับความเสี่ยง ของการ refer case ที่น่าจะทำได้ที่ รพช จึงได้กำหนด requirment สำหรับแพทย์ใช้ทุนและให้เก็บ case ภายใต้การกำกับดูแลของแพทย์เฉพาะทาง
 3.3 ผลการรวบรวม mini-reeach ขององค์กรแพทย์ พบว่า...
 3.4 flow การตามแพทย์ (เอกสารหมายเลข 2)   
 3.5 แพทย์ตรวจช่วง 13.30 - 16.00 พ.....1 ลาป่วย พ. 2 ประชุม พ...3.... 

วันพุธที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ภาระกิจแพทย์ สิงหาคม 2553

เรียนแพทย์ทราบ

19- 20 พ.นันทภัทร อบรม CPR เด็กตึกอำนวยการ

วันจันทร์ 23 รับการตรวจประเมิน Healty work place เที่ยง เชิญแพทย์ทุกท่านร่วมรับประทานอาหารเที่ยงกับทีมด้วยนะครับ

25 สิงหาคม ประชุม ค ป ร

26 สิงหาคม รับตรวจประเมิน 8 อ

23-27 สิงหาคม เตรียมรับประเมิน โครงการธงไตรรงค์ ธำรงไทย ระดับประเทศ

27 สิงหา ซ้อมอัคคีภัยนะครับ

วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2553

ทุนทาเคดะ

Scholar Ship


ทุนมูลนิธิทาเคดา' ให้โอกาสแพทย์ไทย มอบทุนศึกษาดูงาน ทุนวิจัย รวม 6 ทุน


เป็นเวลากว่า 45 ปีแล้วที่มูลนิธิทาเคดา ประเทศญี่ปุ่น ได้มอบ 'ทุนมูลนิธิทาเคดา' ให้แก่แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อสนับสนุนการศึกษาดูงานและวิจัยทางการแพทย์ในประเทศญี่ปุ่น โดยไม่มีเงื่อนไขของการใช้ทุนหรือทำประโยชน์ให้แก่มูลนิธิ ปัจจุบันมีแพทย์ไทยได้รับทุนนี้แล้วทั้งสิ้น 153 ท่าน และล่าสุดในปี พ.ศ. 2553 นี้ได้มีการปรับเปลี่ยนการให้ทุนจากเดิมให้ระยะสั้น 3 เดือน จำนวน 5 ทุน มาเป็นทุนระยะเวลา 6 เดือน จำนวน 2 ทุน และทุนระยะเวลา 3 เดือน จำนวน 3 ทุน รวมกับทุนศึกษาวิจัยระยะเวลา 1-2 ปี อีก 1 ทุน เป็นจำนวนทุนที่ให้ทั้งสิ้น 6 ทุน


ภญ.บุษกร เลิศวัฒนสิวลี กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทาเคดา (ประเทศไทย) จำกัด ได้กล่าวถึงที่มาของการมอบทุนดังกล่าวว่า เนื่องจากบริษัท ทาเคดา เคมิคอล อินดรัสตรีส์ จำกัด ประเทศญี่ปุ่น (ปัจจุบันบริษัทได้เปลี่ยนชื่อเป็นบริษัท ทาเคดา ฟาร์มาซูติคัล จำกัด) ซึ่งเป็นองค์กรที่ดำเนินธุรกิจด้านเภสัชภัณฑ์ ได้ก่อตั้งมูลนิธิทาเคดาขึ้นเป็นครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2506 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อสนับสนุนการพัฒนาความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมทั่วโลก ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 คุณโชเบ ทาเคดา อดีตประธานกรรมการบริหารบริษัททาเคดาฯ ประเทศญี่ปุ่น ได้เดินทางมาเยือนประเทศไทย และมีโอกาสได้พบปะพูดคุยกับนายกแพทยสมาคมฯ ในขณะนั้น ทำให้ได้รับทราบว่าแพทย์ไทยยังขาดทุนสนับสนุนสำหรับการไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ ดังนั้น คุณโชเบ ทาเคดา จึงได้ร่วมกับแพทยสมาคมฯ จัดตั้งกองทุนมูลนิธิทาเคดาสำหรับประเทศไทยขึ้น เพื่อมอบทุนจำนวนหนึ่งสำหรับแพทย์ผู้ที่ต้องการจะไปศึกษาดูงานที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นประจำทุกปี โดยเริ่มมอบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2509


"มูลนิธิทาเคดาเริ่มสนับสนุนทุนให้แพทยสมาคมฯ ปีละ 2 ทุน สำหรับแพทย์ไทยเพื่อไปศึกษาดูงานในประเทศญี่ปุ่นเป็นระยะเวลา 3 เดือน ต่อมาทางมูลนิธิฯ ได้เพิ่มจำนวนทุนขึ้นเป็น 3 ทุน, 4 ทุน และ 5 ทุน ตามลำดับ ซึ่งในปี พ.ศ. 2553 นี้ มูลนิธิได้ปรับเปลี่ยนการให้ทุนจากการไปศึกษาดูงานในประเทศญี่ปุ่นเป็นระยะเวลา 3 เดือน จากทั้งหมด 5 ทุน ปรับเป็นการไปศึกษาดูงานในประเทศญี่ปุ่นระยะเวลา 6 เดือน จำนวน 2 ทุน และคงการให้ทุนระยะเวลา 3 เดือน ไว้จำนวน 3 ทุน รวมทุนระยะสั้นที่มอบให้แพทยสมาคมมีจำนวนทั้งสิ้น 5 ทุน นอกจากนี้มูลนิธิทาเคดาฯ ยังได้เล็งเห็นว่าการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ มีความสำคัญในการพัฒนาการรักษาผู้ป่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งการเตรียมความพร้อมและเพิ่มศักยภาพของบุคลากรทางการแพทย์ในด้านการศึกษาวิจัยจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับวงการแพทย์ไทย ดังนั้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 มูลนิธิจึงได้พิจารณาเพิ่ม 'ทุนศึกษาวิจัยทาเคดาสำหรับนักวิจัยรุ่นเยาว์' (Takeda Science Foundation Young Basic Medical Research Scholarship) แก่สมาชิกของแพทยสมาคมฯ จำนวน 1 ทุน เพื่อไปฝึกอบรมและทำวิจัยในสถาบันทางการแพทย์ ณ ประเทศญี่ปุ่น เป็นระยะเวลา 1-2 ปี" ภญ.บุษกร กล่าว


ด้าน ภก.วิชัย คงอนันตพันธ์ ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท ทาเคดา (ประเทศไทย) จำกัด เผยถึงรายละเอียดและคุณสมบัติสำหรับผู้ขอรับทุนแต่ละประเภทว่า "ในส่วนของทุนศึกษาอบรมระยะสั้นที่มอบให้ทั้งหมด 5 ทุน แบ่งเป็นทุนระยะเวลา 3 เดือน จำนวน 3 ทุน และทุนระยะเวลา 6 เดือน จำนวน 2 ทุน จะประกอบด้วยค่าเดินทางไปกลับ และค่าใช้จ่ายระหว่างการฝึกอบรมเดือนละ 250,000 เยน ซึ่งผู้รับทุนจะต้องติดต่อสถานที่ฝึกอบรมไว้ให้ก่อนที่จะสมัครขอรับทุน และจะต้องมีคุณสมบัติตามข้อกำหนดของแพทยสมาคมฯ คือเป็นสมาชิกของแพทยสมาคมฯ ไม่ต่ำกว่า 1 ปี อายุไม่เกิน 55 ปี และไม่มีโอกาสไปต่างประเทศ ผู้สมัครขอรับทุนไม่จำเป็นต้องอยู่ต่างจังหวัด แต่ถ้าปฏิบัติงานอยู่ต่างจังหวัดจะได้รับการพิจารณาก่อน โดยการฝึกอบรมนั้นต้องให้ประโยชน์แก่ประชาชนส่วนรวม อีกทั้งเป็นงานที่มีประโยชน์กระจายทั่วประเทศ ซึ่งผู้สมัครต้องติดต่อสถาบันที่จะไปฝึกอบรมและดูงานตลอดจนรายละเอียดต่าง ๆ ด้วยตนเอง และได้รับจดหมายรับรองจากสถาบันในประเทศญี่ปุ่น ระบุระยะเวลาที่จะฝึกอบรมและดูงานในสถาบันนั้นเป็นลายลักษณ์อักษรก่อนสมัครขอรับทุน หลังจากเดินทางกลับมาแพทยสมาคมจะเรียนเชิญผู้รับทุนนำผลความก้าวหน้าที่ได้รับมาจากการฝึกอบรมมาเสนอในการประชุมวิชาการประจำปีของแพทยสมาคมฯ ในปีถัดไป"


ภก.วิชัย กล่าวต่ออีกว่า สำหรับทุนศึกษาวิจัยทาเคดาสำหรับนักวิจัยรุ่นเยาว์ ระยะเวลา 1-2 ปี จำนวน 1 ทุนนั้น จะประกอบด้วยค่าเดินทางไปกลับจากกรุงเทพฯ ถึงสถาบันที่ฝึกอบรมและทำการวิจัยในประเทศญี่ปุ่น และค่าใช้จ่ายระหว่างพำนักในประเทศญี่ปุ่นเดือนละ 250,000 เยน ซึ่งคุณสมบัติทั่วไปจะเหมือนกับผู้ขอรับทุนระยะสั้น แต่ที่สำคัญคือผู้สมัครรับทุนจะต้องมีอายุไม่เกิน 35 ปี


"การให้ทุนนี้ถือเป็นโอกาสดีสำหรับแพทย์ไทยในการเดินทางไปศึกษาดูงาน เพิ่มพูนความรู้ใหม่ ๆ ยังประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเป็นประเทศที่มีขีดความสามารถด้านการพัฒนาสูง โดยเฉพาะเทคโนโลยี และแน่นอนว่าประโยชน์ที่ได้จะบังเกิดแก่ตัวผู้รับทุน โดยสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการทำงานของตน รวมทั้งจะเกิดประโยชน์แก่องค์กรและประเทศชาติต่อไป" ภญ.บุษกร กล่าวทิ้งท้าย


สมาชิกแพทยสมาคมฯ ท่านใดสนใจติดต่อขอใบสมัครและส่งใบสมัครพร้อมรูปถ่ายหน้าตรงเต็มใบหน้า ไม่สวมหมวก พื้นรูปสีขาว ขนาด 40X30 ซม. 2 รูป (อายุของรูปถ่ายไม่เกิน 6 เดือน) และเอกสารประกอบการสมัครขอรับทุนได้ที่ แพทยสมาคมฯ เลขที่ 2 ซ.ศูนย์วิจัย ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท์ 0-2314-4333, 0-2318-8170 โทรสาร 0-2314-8305 ภายในวันที่ 30 กันยายน 2553

สนับสนุนเนื้อหาโดย วงการแพทย์ ฉบับ 320

วันศุกร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

เตรียมประชุม สิงหาคม 2553

1 แพทย์วันฉัตร นำเสนอผลการประชุม Asthma c สมาธิบำบัด
2 แพทย์โกวิท นำเสนอผลการประชุมต้อหิน
3 แพทย์วุฒิชัย นำเสนอผลการประชุม HA SPA
4 แพทย์สนองนำเสนอผลการประชุม ICS
5 ขอความร่วมมือ Round (early round)
6 RM ในหน่วยงาน ตามแพทย์ไม่ได้ จัดทำ flow

วันอังคารที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

เตรียมประชุม กรกฏาคม 2553

1 เรื่องตารางเวร
2 ความเสี่ยงในองค์กรแพทย์
 3.1 พฤติกรรมบริการ
 3.2 ลดระยะเวลาการรอคอย ออกใบรับรองแพทย์ ใบ refer โดยพยาบาล (criteria)
 3.3

วันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553

feedback OPD

ข้อตกลงเดิม
1 ไข้ มากกว่าหรือเท่ากับ 3 วัน TT ถ้า positive CBC รอ

case ที่ควรส่งพบสูติแพทย์
1 condition สูติ-นรีเวชกรรม OSCC Family planning
2 ออกตรวจบ่ายวันศุกร์ นัดพบแพทย์ได้
3 รับยา premarine เนื้องอกมดลูก
4

วันอาทิตย์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2553

วันอังคารที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553

เตรียมประชุม 04-06-53

1 นำเสนอตารางเวร ปรับ
ปรับเวร IPD MED (ปรับเป็น Round และดูแล IPD หญิง เดิมรับดูตึกชายด้วย)
2 นำเสนอตารางงานคุณภาพ
3
4

วันจันทร์ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

มิ.ย 53

 แจ้งให้ทราบ
1 การประชุมวิชาการ 2 ครั้งต่อปี
http://academic.ra.mahidol.ac.th/ 20-23 ก.ย 53
1 ปรับตารางเวร
เรียนแพทย์ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2553
           ตั้งแต่ 1 มิถุนายนมีการปรับการดูแลผู้ป่วยเวรในดังนี้
            1
PCT ทบทวน case 1 2 3
ER เสนอปัญหาว่า case ไหนบ้างมี่ สามารถทำรอได้บ้าง (standing order)
แพทย์ผู้ให้คำปรึกษา OPD ER พ..................พ....................
ผล RM round
จริยธรรมแพทย์ประจำเดือน มิถุนายน 2553 นำเสนอ .....ผลงานที่ทำ .....มอบหมายให้สมาธิบำบัด นำเสนอคุณธรรม จริยธรรมทุก ๆ เดือน

วันอังคารที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2553

เตรียมประชุม องค์กรแพทย์ พ.ค 53

วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ


ไม่มี

วาระที่ 2 รับรองการประชุมครั้งที่แล้ว

รับรอง

วาระที่ 3 ติดตามเรื่องเดิม

1 Nurse AID ประจำห้องอย่างน้อย 2 ต่อหนึ่ง

มีการพัฒนาดีขึ้น แต่ยังไม่ 100 %

2 ผลการเสนอเลขานุการ สำหรับองค์กรแพทย์

ประธานได้เสนอผู้อำนวยการไปแล้ว ผู้อำนวยการ เห็นชอบ กำลังจัดหาให้ ปัจจุบันทาง OPD ได้ให้จุฑารัตน์รับงานขององค์กรแพทย์ในช่วงบ่าย ซึ่งยังไม่สามารถช่วยงานแพทย์ได้เต็มที่

3 ปัญหาห้องตรวจแพทย์

พบว่า ห้องตรวจบางห้อง คอมพิวเตอร์ช้า

แนวทางแก้ไข

- โทรแจ้งศูนย์คอมทันที

- บันทึกใบอุบัติการณ์ความเสี่ยง ผ่านประธานองค์กรแพทย์

วาระที่ 4 เรื่องเสนอจากที่ประชุม

1 แพทย์โกวิทนำเสนอตารางเวรเดือน มิถุนายน เพื่อให้ที่ประชุม เสนอปรับ

2 สืบเนื่องจากการย้ายผู้ป่วยตึกหญิง ทำให้ตึกหญิงมีเฉพาะ MED หญิง ที่ประชุมเสนอปรับเวรใน IPD MED จากเดิม IPD MED ดูแลผู้ป่วย MED ตึกชายและหญิง

ปรับเป็น IPD MED Round และดูแลตึกอายุรกรรมหญิง ส่วน NON MED Round และดูแลผู้ป่วยตึกชายและตึกหลังคลอด(ผู้ป่วยสูติ-นรีเวชและ NON MED หญิง)

เพื่อสะดวกในการ Round และลดภาระงานทั้ง IPD MED และ NON-MED

เมื่อสูติ-นรีแพทย์มา ที่ประชุมเสนอแยกเวร IPD-OB-GYN รับผิดชอบดูแล case สูติ-นรีเวช (แยกจาก NON-MED)

มติที่ประชุม รับทราบ

4 แจ้งหนังสือขอความอนุเคราะห์แพทย์ออกรับบริจาคเลือด ณ โรงเรียน ขนาดมอญ ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2553 ประธานมอบแพทย์มรกตออกรับบริจาคเลือดวันดังกล่าว

5 แจ้งหนังสือขอความอนุเคราะห์แพทย์ออก พ อ ส ว ณ บ้านคะนา ในวันที่ 28 พฤษภาคม 2553 ประธานออกให้บริการวันดังกล่าว

6 งาน audit แจ้งให้ทราบว่าจะมีการ audit MRA ทุกเดือน จำนวน 5 เวชระเบียนต่อคนต่อเดือน ประธานแจ้งให้ส่งให้ทันตามกำหนดด้วย

มติที่ประชุม รับทราบ

4 ประธานนำเสนอความเสี่ยงขององค์กรแพทย์ประจำเดือน พฤษภาคม 2553 ดังเอกสารที่แนบมาด้วย

มติที่ประชุม รับทราบ

5 ประธาน นำเสนอใบร้องเรียน เรื่องแพทย์ออกตรวจช้า ปริมาณผู้ป่วยมาก (12 พฤษภาคม 2553)

ที่ประชุมเสนอแนวทางแก้ไขดังนี้

5.1 ทบทวนข้อตกลงเดิม คือ แพทย์ออกตรวจ 08.30 น – 12.00 น (ตัดคิวที่ 11.45) ภาคบ่าย OPD 1 ออกตรวจ 13.00 OPD 2 ออกตรวจ 13.30 น

แพทย์ ER ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน 08.30 – 16.30

5.2 ประสาน OPD ประชาสัมพันธ์ให้ผู้รับบริการทราบเป็นช่วง ๆ และบันทึกใบอุบัติการณ์ส่งองค์กรแพทย์







5.3 กรณีมีผู้รับบริการค้างภาคเช้ามากกว่า 50 คน แพทย์ทุกคนจะช่วยออกตรวจ OPD 13.00 ให้ผู้รับบริการหมดก่อน ก่อนที่จะไปทำงานคุณภาพ ทำหัตถการอื่น ๆ ต่อ

วาระที่ 5 เรื่องอื่น ๆ

ปิดประชุม 13.20 น

วุฒิชัย พิมพ์

วันพุธที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2553

KPI MSO

ทั่วไป
1  อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียน
2  จำนวนครั้งของการไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพหรือข้อตกลง
3  จำนวนครั้งของการเกิดอุบัติการณ์ร้องเรียนเกี่ยวกับมาตรฐานวิชาชีพ
4   จำนวนครั้งของการส่งตารางเวรหลังวันที่ 20 ของเดือน
ประธานบ้านพัก
1   จำนวนครั้งของแพทย์ไม่มีห้องพัก
2   จำนวนครั้งของเครื่องใช้ในบ้านพักแพทย์ไม่พร้อมเมื่อแพทย์ย้ายเข้า
การจัดตารางเวร
1   จำนวนครั้งของการจัดตารางเวรไม่เสร็จตามกำหนด
2   จำนวนครั้งของการเก็บรวมรวมผลการส่งตารางเวรไม่ทันตามกำหนดของแพทย์รายคน

วันอังคารที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2553

เตรียมประชุม ย้ายตึก LAB PV room

LAB ห้องทำ lab Leprosy KOH
PV ROOM ห้อง ultrasound เดิม

ผลการประชุม คุณภาพ และ ค ปร 21-04-53

แจ้งอัตรากำลัง แพทย์ 2553
เสนอ ประกวดตั้งชื่อ ห้องประชุม ตึกอำนวยการ ห้องประชุมตึกใหม่ 2 ห้อง มอบรางวัลในวันเลี้ยงรับ เลี้ยงส่ง
RM - นำเสนอ บันทึกการประชุม
     -  หน่วยงานนำเสนอ RM 5 นาที่ในการประชุม คุณภาพประจำเดือน

วันอาทิตย์ที่ 11 เมษายน พ.ศ. 2553

medical culture

วัฒนธรรมองค์กรแพทย์
1 เราภาคภูมิใจที่เราเป็นแพทย์โรงพยาบาลสังขะ
2 พระดำรัสของสมเด็จพระบิดา
3

วันพฤหัสบดีที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2553

เตรียมประชุม องค์กรแพทย์ เมษายน 53

ระเบียบวาระที่  1 ประธานแจ้งที่ประชุมทราบ
        1  ผลการจัดสรรแพทย์ ปี 2553 (เอกสารหมายเลข 1)
        2  ผลการประเมิน overall scoring จากผลการตรวจเยี่ยมของ ส.ร.พ เมื่อ 9 เมษายน 2553 สรุปผลได้ score เฉลี่ย 2.764 
ในส่วนขององค์กรแพทย์ ได้ปรเมินที่ 4.0 แต่ต้องเตรียมข้อมูลให้ครบ ถ้าหากจะ re-accredit  (เอกสารหมายเลข 2)
        3  นำเสนอผลสรุปการตรวจสอบเวชระเบียน ตรามแนวทางของ ส ป ส ช และ ส รพ .(เอกสารหมายเลข 3)
ระเบียบวาระที่ 2  เรื่องรับรองการประชุมครั้งที่แล้ว       
-          รับรอง   
ระเบียบวาระที่ 3 ติดตามการประชุมครั้งที่แล้ว
1  ปัญหาผู้ป่วยเวรดึกได้ผลเอกซเรย์ช้า ได้ประชุมหาข้อตกลงแล้ว
ข้อตกลง คือ ผู้ป่วยเวรดึกได้รับการเอกซเรย์ก่อน 09.00 น ทุก case 
                  กรณีพบอุบัติการณ์ไม่เป็นไปตามข้อตกลง ให้เขียนใบอุบัติการณ์ เพื่อการพัฒนาระบบ
2  ปัญหาแพทย์ต้องการผู้ช่วยพยาบาล stand by ห้องตรวจ แพทย์เฉพาะทางทุกห้อง แพทย์ห้องตรวจ 1 2 4 5 6 7 ต้องการผู้ช่วยอย่างน้อย 2 ห้อง 1 คน
ผลการดำเนินงาน ............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................
3 ทีม Home health care ประสานให้แพทย์เริ่มใช้แบบฟอร์มส่งต่อผู้ป่วยดูแลต่อที่ รพ สต.และ สถานีอนามัย เพื่อพัฒนางาน home health care ต่อไป
สืบเนื่ององค์กรแพทย์มีเลขา (จุฑารัตน์ สุขเอิบ ) 1 คน กรณีเลขาไม่อยู่ไม่มีผู้อื่นทำแทนได้ จึงเสนอขอนายธีรศักดิ์ ทำหน้าที่แทนในวันที่ จุฑารัตน์ไม่อยู่ ทั้งนี้ได้ประสานฝ่าย OPD เบื้องต้นแล้ว 
ผู้อำนวยการเห็นชอบ
ฝ่าย OPD จัดให้เลขาทำหน้าที่ในช่วงบ่าย ทีมแพทย์มอบ จุฑารัตน์เก็บข้อมูล  job งานที่แพทย์มอบหมาย เป้นรายเดือน หากทำไม่ทัน อาจจะเสนอขอเลขาประจำองค์กรแพทย์เพื่อช่วยพัฒนางานเอกสารและงานคุณภาพสำหรับองค์กรแพทย์
 แพทย์นันทภัทร พบอุบัติการณ์ความเสี่ยงในหน่วยงาน คือ การให้ สารน้ำในเด็กไม่เหมาะสม ที่ประชุมรับทราบและเสนอจัดทำ CPG เรื่องการให้สารน้ำในเด็ก เพื่อลดอุบัติการณ์ดังกล่าว

-          ไฟดับบ่อย ที่ประชุมเสนอให้ทีมที่เกี่ยวข้องดำเนินการไม่ให้เกิดปัญหาอีก กรณีเกิดปัญหา
มติที่ประชุม เสนอทีม ENV ปรับปรงระบบ กรณีเกิดอุบัติการณ์ซ้ำให้เขียนใบความเสี่ยง เพื่อให้พัฒนาตามระบบ
-      แพทย์นันทภัทร เสนอ มอบให้หน่วยงานอื่นรับงาน ESB แทน สืบเนื่องจากตนรับงานอื่นแล้วได้แก่ PCT สายใยรัก และแพทย์สนองเสนอไม่รับงาน ITEM Mike เพราะไม่เคยไปอบรมและไม่ชอบงานดังกล่าว ไม่มีการประสานงานกันในทีม ขอรับงานที่ชอบมากกว่า
คือ PCT MED งานพัฒนาบุคลากร (อบรม ให้ความรู้)
ผลการ audit มีนาคม, 2553
http://spreadsheets.google.com/ccc?key=0Amk6WlSUrY8ldEZVd1ZQc1VHLWhVYzZMWHJHY0dHSnc&hl=en

ระเบียบวาระที่ 4







ส่วนประเด็นอื่น ๆ จาก การประเมินในครั้งนี้ได้แก่
   1 ER ควรมี standing order ในโรคหรือกลุ่มอาการที่สำคัญ (งาน PCT)
   2 ห้องฉีดยา ควรมีรถและอุปกรณ์ ช่วยชีวิตและมรศักยภาพในกรณีผู้ป่วยแพ้ยา (งาน PCT)
   3  
                มติท่ประชุม เสนอผู้อำนวยการ
-      


ระเบียบวาระที่ 5
เรื่องรับรองการประชุมครั้งที่แล้ว